ทำเลที่ตั้ง
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 10 องศาใต้ ถึง ละติจูดที่ 28 องศา เหนือลองจิจูดที่ 42 องศา ถึง 140 องศา ตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคเอเชียตะวันออกกับเอเชียใต้ และเป็นดินแดนระหว่างมหาสมุทรใหญ่ คือ มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 1,600,000 ตารางไมล์
เศรษฐกิจ
ยุคราชวงศ์เมารยะ มีความก้าวหน้าทางด้านต่างๆ คือ
- ด้านการเกษตรมีการปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก รัฐจัดทำแปลงนาสาธิตเพื่อเป็นการพัฒนาผลผลิต มีการปรับปรุงชลประทานอุตสาหกรรม และการค้ามีทั้งการค้าภายในกับการค้ากับต่างชาติ
- ด้านอาณาจักร เปอร์เซียและอียิปตเศรษฐกิจในสมัยราชวงศ์กุษาณะขึ้นอยู่กับการกสิกรรม์เป็นส่วนใหญ่รายได้ของประเทศขึ้นอยู่กับผลิตผลทางด้านเกษตรกรรมการค้าในสมัยคุปตะขยายตัวอย่างมากทั้งการค้าภายในประเทศและการค้าต่างประเทศ มีการค้ากับเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และจีน มีการใช้เหรียญเงินเหรียญทองเป็นเงินตรา
สังคมและวัฒนธรรม
- ศาสนา ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชทรงเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา
ราชวงศ์กุษาณะซึ่งนับถือ พระพุทธศาสนาได้ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในเอเชียกลาง (บนเส้นทางสายไหม ) ตลอดจนถึงชายแดนจีนจึงทำให้พระพุทธศาสนา รุ่งเรืองขึ้น- ศิลปกรรม ยุคสมัยราชวงศ์เมารยะรัชกาลพระเจ้าอโศกมหาราช มักเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา แต่ในสมัยคุตศิลปกรรม มีลักษณะเป็นฮินดูอย่างแท้จริง ทั้งภาพแกะสลักและภาพวาดมีลักษณะการแสดงออกของความรู้สึกที่สำรวมงามสง่า
ที่ตั้งอารยธรรม